fbpx
Search
Close this search box.
Search
Close this search box.

อินโฟกราฟิกส์

Modal Title

วิธีการดูแลตัวเองในระหว่างตั้งครรภ์ ที่คุณแม่ต้องรู้

วิธีการดูแลตัวเองในระหว่างตั้งครรภ์ ที่คุณแม่ต้องรู้ 🤰
.
เมื่อทราบแน่นอนว่าตัวเองตั้งท้อง สิ่งที่คุณแม่ต้องทำก็คือการไปฝากครรภ์กับคุณหมอหรือสถานพยาบาลที่ตัวเองเลือก เพื่อรับการตรวจสุขภาพและคำแนะนำจากคุณหมอเกี่ยวกบการปฏิบัติตนในช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ สำหรับสิ่งที่คุณแม่ควรและไม่ควรปฏิบัตินั้นมีดังต่อไปนี้
.
🥗 เลือกทานอาหาร
กินอาหารที่มีประโยชน์ และครบ 5 หมู่
🧘‍♀️ ออกกำลังกาย
คุณแม่สามารถปรึกษาแพทย์เรื่องการออกกำลังกายที่เหมาะสม
💤 นอนให้เพียงพอ
นอน 7-9 ชม./คืน อย่างต่อเนื่อง
😌 ไม่เครียด
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ไม่จมอยู่กับปัญหา ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว
💊 ระวังการใช้ยา
เมื่อป่วยให้พบแพทย์ ห้ามซื้อยารับประทานเอง
👗 การแต่งกาย
สวมใส่เสื้อผ้าที่ไม่รัดรูป หลีกเลี่ยงรองเท้าส้นสูง
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
วิธีการดูแลตัวเองในระหว่างตั้งครรภ์ ที่คุณแม่ต้องรู้
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

วิธีการดูแลตัวเองในระหว่างตั้งครรภ์ ที่คุณแม่ต้องรู้

วิธีการดูแลตัวเองในระหว่างตั้งครรภ์ ที่คุณแม่ต้องรู้ 🤰
.
เมื่อทราบแน่นอนว่าตัวเองตั้งท้อง สิ่งที่คุณแม่ต้องทำก็คือการไปฝากครรภ์กับคุณหมอหรือสถานพยาบาลที่ตัวเองเลือก เพื่อรับการตรวจสุขภาพและคำแนะนำจากคุณหมอเกี่ยวกบการปฏิบัติตนในช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ สำหรับสิ่งที่คุณแม่ควรและไม่ควรปฏิบัตินั้นมีดังต่อไปนี้
.
🥗 เลือกทานอาหาร
กินอาหารที่มีประโยชน์ และครบ 5 หมู่
🧘‍♀️ ออกกำลังกาย
คุณแม่สามารถปรึกษาแพทย์เรื่องการออกกำลังกายที่เหมาะสม
💤 นอนให้เพียงพอ
นอน 7-9 ชม./คืน อย่างต่อเนื่อง
😌 ไม่เครียด
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ไม่จมอยู่กับปัญหา ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว
💊 ระวังการใช้ยา
เมื่อป่วยให้พบแพทย์ ห้ามซื้อยารับประทานเอง
👗 การแต่งกาย
สวมใส่เสื้อผ้าที่ไม่รัดรูป หลีกเลี่ยงรองเท้าส้นสูง
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
วิธีการดูแลตัวเองในระหว่างตั้งครรภ์ ที่คุณแม่ต้องรู้
Modal Title

ทำอย่างไรเมื่อคุณแม่ “แพ้ท้อง”

ทำอย่างไรเมื่อคุณแม่ “แพ้ท้อง” 🤰
.
อาการแพ้ท้อง เป็นอาการที่มักจะพบได้ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ โดยปกติทั่วไปมักเกิดขึ้นในตอนเช้า หรือขณะที่ร่างกายอ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย ส่งผลให้เกิดอาการเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน แต่สามารถบรรเทาได้ ด้วยวิธีการดังนี้
.
– กินอาหารที่มีรสเปรี้ยว เช่น ลูกอมเปรี้ยวๆ ลูกหยี มะขาม บ๊วยเค็ม ผลไม้สดหรือผลไม้แห้ง
– กินอาหารที่ละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง คือ แทนที่จะกินอาหาร 3 มื้อหลัก ก็อาจจะลดอาหารในแต่ละมื้อหลักให้น้อยลง และเพิ่มอาหารว่างระหว่างมื้อแทน
– กินอาหารที่ให้ธาตุเหล็กสูง เช่น เนื้อสัตว์ เครื่องใน ตับ เลือด
– กินอาหารที่มีไอโอดีน เช่น อาหารทะเล หรือเลือกใช้เครื่องปรุงที่มีไอโอดีนมาปรุงอาหาร
– หลีกเลี่ยงอาหารรสหวานจัดหรือมีไขมันสูง เพราะจะทำให้อาการคลื่นไส้อาเจียนเพิ่มขึ้น
.
อาการแพ้ท้องนี้จะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ซึ่งในบางรายหากมีอาการมากจนไม่สามารถกินอาหารเองได้ควรต้องพบแพทย์
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
ทำอย่างไรเมื่อคุณแม่ “แพ้ท้อง”
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

ทำอย่างไรเมื่อคุณแม่ “แพ้ท้อง”

ทำอย่างไรเมื่อคุณแม่ “แพ้ท้อง” 🤰
.
อาการแพ้ท้อง เป็นอาการที่มักจะพบได้ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ โดยปกติทั่วไปมักเกิดขึ้นในตอนเช้า หรือขณะที่ร่างกายอ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย ส่งผลให้เกิดอาการเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน แต่สามารถบรรเทาได้ ด้วยวิธีการดังนี้
.
– กินอาหารที่มีรสเปรี้ยว เช่น ลูกอมเปรี้ยวๆ ลูกหยี มะขาม บ๊วยเค็ม ผลไม้สดหรือผลไม้แห้ง
– กินอาหารที่ละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง คือ แทนที่จะกินอาหาร 3 มื้อหลัก ก็อาจจะลดอาหารในแต่ละมื้อหลักให้น้อยลง และเพิ่มอาหารว่างระหว่างมื้อแทน
– กินอาหารที่ให้ธาตุเหล็กสูง เช่น เนื้อสัตว์ เครื่องใน ตับ เลือด
– กินอาหารที่มีไอโอดีน เช่น อาหารทะเล หรือเลือกใช้เครื่องปรุงที่มีไอโอดีนมาปรุงอาหาร
– หลีกเลี่ยงอาหารรสหวานจัดหรือมีไขมันสูง เพราะจะทำให้อาการคลื่นไส้อาเจียนเพิ่มขึ้น
.
อาการแพ้ท้องนี้จะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ซึ่งในบางรายหากมีอาการมากจนไม่สามารถกินอาหารเองได้ควรต้องพบแพทย์
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
ทำอย่างไรเมื่อคุณแม่ “แพ้ท้อง”
Modal Title

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ 🤰
.
คุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ลูกน้อยหรืออยู่ระหว่างช่วงหลังคลอด รู้ไหมว่า ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งครอบคลุมบริการดังกล่าว โดยสามารถรับได้ฟรี ครอบคลุมคนทุกสิทธิการรักษา โดยมีทั้งหมด 8 สิทธิประโยชน์ด้วยกัน
.
– ทดสอบการตั้งครรภ์
– ตรวจครรภ์ ประเมินความเสี่ยง ประเมิน สุขภาพจิต ตรวจอัลตร้าชาวด์ ตรวจปัสสาวะหาการติดเชื้อแบคทีเรีย,โปรตีน, น้ำตาล
– ตรวจเลือดคัดกรองภาวะชีด ธาลัสซีเมีย ดาวน์ซินโดรม ตรวจซิฟิลิส เอซไอวี ตับอักเสบบี
– การคัดกรองธาลัสซีเมีย และซิฟิลิสในคู่ของหญิงตั้งครรภ์
– ตรวจช่องปากและฟัน
– ฉีดวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก และวัคซีนไข้หวัดใหญ่
– ให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็ก โฟลิก และไอโอดีน
– การคัดกรองธาลัสซีเมีย การคัดกรองซิฟิลิสในคู่ของหญิงตั้งครรภ์ (การให้ยาต้านไวรัสเอชไอวี เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก เฉพาะราย)
.
สำหรับผู้ที่ส่งเงินประกันสังคม มาตรา 33 หรือ 39 สามารถใช้สิทธิเบิกค่ารักษาได้ โดยแบ่งเป็น 5 รายการ
.
– เบิกค่าฝากครรภ์ : วงเงินรวม 1,500 บาท ( 5 ครั้ง )ตามช่วงอายุครรภ์
– เบิกค่าคลอดบุตร : เหมาจ่ายวงเงิน 15,000 บาท ต่อครั้ง
– เบิกเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร : เบิกได้ 50% ของค่าจ้างเฉลี่ย (สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท/เดือน)
– เบิกค่าชดเชย กรณีแท้งบุตร : ต้องอายุครรภ์ไม่น้อยกว่า 28 สัปดาห์
– เบิกเงินสงเคราะห์เพื่อเลี้ยงดูบุตร : เบิกได้ 800 บาท ต่อเดือน (ตั้งแต่เกิดจนถึง 6 ปี)
*เงื่อนไข: จ่ายประกันสังคมมามากกว่า 12 เดือนแล้ว ภายในเวลา 36 เดือน
กรณีครรภ์แฝดเบิกได้ 1,200 บาท ต่อเดือน
*ค่าคลอดบุตร
คุณแม่จะเบิกสิทธิประกันสังคมได้ ต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคมมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน และภายใน 15 เดือน ก่อนการคลอดบุตร โดยกระกันสังคมจะจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 15,000 บาท
*คุณแม่มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร โดยเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง เป็นเวลา 90 วัน (หากเป็นบุตรคนที่ 3 จะไม่ได้สิทธินี้)
*หากคุณแม่และพ่อ เป็นผู้ประกันตนประกันสังคมทั้งคู่ สามารถใช้สิทธิการเบิกคลอดบุตรของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง โดยไม่จำกัดจำนวนบุตรและครั้ง
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ 🤰
.
คุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ลูกน้อยหรืออยู่ระหว่างช่วงหลังคลอด รู้ไหมว่า ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งครอบคลุมบริการดังกล่าว โดยสามารถรับได้ฟรี ครอบคลุมคนทุกสิทธิการรักษา โดยมีทั้งหมด 8 สิทธิประโยชน์ด้วยกัน
.
– ทดสอบการตั้งครรภ์
– ตรวจครรภ์ ประเมินความเสี่ยง ประเมิน สุขภาพจิต ตรวจอัลตร้าชาวด์ ตรวจปัสสาวะหาการติดเชื้อแบคทีเรีย,โปรตีน, น้ำตาล
– ตรวจเลือดคัดกรองภาวะชีด ธาลัสซีเมีย ดาวน์ซินโดรม ตรวจซิฟิลิส เอซไอวี ตับอักเสบบี
– การคัดกรองธาลัสซีเมีย และซิฟิลิสในคู่ของหญิงตั้งครรภ์
– ตรวจช่องปากและฟัน
– ฉีดวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก และวัคซีนไข้หวัดใหญ่
– ให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็ก โฟลิก และไอโอดีน
– การคัดกรองธาลัสซีเมีย การคัดกรองซิฟิลิสในคู่ของหญิงตั้งครรภ์ (การให้ยาต้านไวรัสเอชไอวี เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก เฉพาะราย)
.
สำหรับผู้ที่ส่งเงินประกันสังคม มาตรา 33 หรือ 39 สามารถใช้สิทธิเบิกค่ารักษาได้ โดยแบ่งเป็น 5 รายการ
.
– เบิกค่าฝากครรภ์ : วงเงินรวม 1,500 บาท ( 5 ครั้ง )ตามช่วงอายุครรภ์
– เบิกค่าคลอดบุตร : เหมาจ่ายวงเงิน 15,000 บาท ต่อครั้ง
– เบิกเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร : เบิกได้ 50% ของค่าจ้างเฉลี่ย (สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท/เดือน)
– เบิกค่าชดเชย กรณีแท้งบุตร : ต้องอายุครรภ์ไม่น้อยกว่า 28 สัปดาห์
– เบิกเงินสงเคราะห์เพื่อเลี้ยงดูบุตร : เบิกได้ 800 บาท ต่อเดือน (ตั้งแต่เกิดจนถึง 6 ปี)
*เงื่อนไข: จ่ายประกันสังคมมามากกว่า 12 เดือนแล้ว ภายในเวลา 36 เดือน
กรณีครรภ์แฝดเบิกได้ 1,200 บาท ต่อเดือน
*ค่าคลอดบุตร
คุณแม่จะเบิกสิทธิประกันสังคมได้ ต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคมมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน และภายใน 15 เดือน ก่อนการคลอดบุตร โดยกระกันสังคมจะจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 15,000 บาท
*คุณแม่มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร โดยเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง เป็นเวลา 90 วัน (หากเป็นบุตรคนที่ 3 จะไม่ได้สิทธินี้)
*หากคุณแม่และพ่อ เป็นผู้ประกันตนประกันสังคมทั้งคู่ สามารถใช้สิทธิการเบิกคลอดบุตรของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง โดยไม่จำกัดจำนวนบุตรและครั้ง
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์
Modal Title

ขั้นตอนการฝากครรภ์ เรื่องที่คุณแม่มือใหม่ต้องรู้

ขั้นตอนการฝากครรภ์ เรื่องที่คุณแม่มือใหม่ต้องรู้ 🤰
.
เพื่อดูแลติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของทารก และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คุณแม่จำเป็นจะต้องเข้ารับการฝากครรภ์เพื่อรับคำแนะนำจากแพทย์ และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดบุตรอย่างปลอดภัย โดยคุณแม่ที่ตั้งครรภ์สามารถเข้าฝากครรภ์ได้ทันทีที่ทราบว่ามีการตั้งครรภ์หรือภายใน 12 สัปดาห์แรก ณ สถานพยาบาลต่าง ๆ ใกล้บ้านหรือที่ทำงาน เช่น โรงพยาบาล อนามัย หรือ คลินิก เป็นต้น
.
1.คุณหมอซักประวัติอย่างละเอียด 📝
ประวัติส่วนตัว ประวัติด้านสุขภาพ การใช้ยา และการคลอดบุตร
2.ตรวจร่างกาย 🩺
วัดความดัน ปริมาณน้ำตาล โปรตีนในปัสสาวะ
3.ตรวจครรภ์ 🫄
ดูความสัมพันธ์ของขนาดมดลูกกับอายุครรภ์
4.ฟังการเต้นของหัวใจทารก 💓
ตามอายุครรภ์ที่เหมาะสม
5.รับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 📘
6.รับยาบำรุงวัคซีน 💉
.
สิ่งที่ต้องเตรียม
บัตรประชาชน 💳
ประวัติการเจ็บป่วย แพ้ยาโรคประจำตัว 💊
ข้อมูลประจำเดือนครั้งสุดท้าย 🩸
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
ขั้นตอนการฝากครรภ์ เรื่องที่คุณแม่มือใหม่ต้องรู้
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

ขั้นตอนการฝากครรภ์ เรื่องที่คุณแม่มือใหม่ต้องรู้

ขั้นตอนการฝากครรภ์ เรื่องที่คุณแม่มือใหม่ต้องรู้ 🤰
.
เพื่อดูแลติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของทารก และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คุณแม่จำเป็นจะต้องเข้ารับการฝากครรภ์เพื่อรับคำแนะนำจากแพทย์ และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดบุตรอย่างปลอดภัย โดยคุณแม่ที่ตั้งครรภ์สามารถเข้าฝากครรภ์ได้ทันทีที่ทราบว่ามีการตั้งครรภ์หรือภายใน 12 สัปดาห์แรก ณ สถานพยาบาลต่าง ๆ ใกล้บ้านหรือที่ทำงาน เช่น โรงพยาบาล อนามัย หรือ คลินิก เป็นต้น
.
1.คุณหมอซักประวัติอย่างละเอียด 📝
ประวัติส่วนตัว ประวัติด้านสุขภาพ การใช้ยา และการคลอดบุตร
2.ตรวจร่างกาย 🩺
วัดความดัน ปริมาณน้ำตาล โปรตีนในปัสสาวะ
3.ตรวจครรภ์ 🫄
ดูความสัมพันธ์ของขนาดมดลูกกับอายุครรภ์
4.ฟังการเต้นของหัวใจทารก 💓
ตามอายุครรภ์ที่เหมาะสม
5.รับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 📘
6.รับยาบำรุงวัคซีน 💉
.
สิ่งที่ต้องเตรียม
บัตรประชาชน 💳
ประวัติการเจ็บป่วย แพ้ยาโรคประจำตัว 💊
ข้อมูลประจำเดือนครั้งสุดท้าย 🩸
.
#ปรึกษาวางแผนครอบครัวได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182 และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551
.
ขั้นตอนการฝากครรภ์ เรื่องที่คุณแม่มือใหม่ต้องรู้
Modal Title

สถิติคุณแม่วัยใส ในช่วง 10 ปี พ.ศ. 2555 – 2565

ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นหรือท้องไม่พร้อมมีแนวโน้มลดลงจากอดีตที่ถือว่าเป็นปัญหาที่น่ากังวลมาก แต่ยังคงมีบางพื้นที่ที่ยังคงเป็นที่น่ากังวล นอกจากนี้ยังมีอีกสาเหตุที่ยังพบว่ามีปัญหาท้องไม่พร้อม คือ การป้องกัน หรือการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิด จึงทำให้เกิดปัญหาท้องไม่พร้อมตามมา
.
#ปรึกษาการคุมกำเนิดได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182
และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551

สถิติคุณแม่วัยใส ในช่วง 10 ปี พ.ศ. 2555 - 2565
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

สถิติคุณแม่วัยใส ในช่วง 10 ปี พ.ศ. 2555 – 2565

ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นหรือท้องไม่พร้อมมีแนวโน้มลดลงจากอดีตที่ถือว่าเป็นปัญหาที่น่ากังวลมาก แต่ยังคงมีบางพื้นที่ที่ยังคงเป็นที่น่ากังวล นอกจากนี้ยังมีอีกสาเหตุที่ยังพบว่ามีปัญหาท้องไม่พร้อม คือ การป้องกัน หรือการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิด จึงทำให้เกิดปัญหาท้องไม่พร้อมตามมา
.
#ปรึกษาการคุมกำเนิดได้ที่คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 02-941-2320 ต่อ 181-182
และ #แพทย์ทางไกล 085-585-9580 หรือ 095-661-6551

สถิติคุณแม่วัยใส ในช่วง 10 ปี พ.ศ. 2555 - 2565
Modal Title

แนวโน้มทิศทางโครงสร้างครอบครัวไทย ประจำปี พ.ศ. 2566

👨‍👩‍👧‍👦 ครอบครัวเดี่ยว 68.18% (40,647 ครอบครัว)
ครอบครัวเดี่ยว คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วย บุคคลที่ใช้ชีวิตร่วมกันฉันสามีภริยา อาจมีหรือไม่มีบุตร พ่อหรือแม่ อยู่กับบุตร หรือพี่น้องหรือญาติ ไม่เกินสองรุ่นใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน
👶👨👩‍🦰👵🧓ครอบครัวขยาย 29.88% (17,812 ครอบครัว)
ครอบครัวขยาย คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วย บุคคลตั้งแต่สามรุ่นขึ้นไป หรือครอบครัวเดี่ยวสองครอบครัวขึ้นไปที่มีความผูกพันทางสายโลหิตหรือเกี่ยวดองเป็น เครือญาติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน และอาศัยอยู่ในบ้านหรือบริเวณเดียวกัน
🙆‍♂️🙋‍♀️🙋ครัวเรือนที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ 1.93% (1,151 ครอบครัว)
ครัวเรือนที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ คือ ครัวเรือนที่มีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกันโดยไม่มีความสัมพันธ์ ฉันสามีภริยา ไม่มีความผูกพัน ทางสายโลหิต และไม่มีความ เกี่ยวดองเป็นเครือญาติ แต่มีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน
แนวโน้มทิศทางโครงสร้างครอบครัวไทย ประจำปี พ.ศ. 2566
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

แนวโน้มทิศทางโครงสร้างครอบครัวไทย ประจำปี พ.ศ. 2566

👨‍👩‍👧‍👦 ครอบครัวเดี่ยว 68.18% (40,647 ครอบครัว)
ครอบครัวเดี่ยว คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วย บุคคลที่ใช้ชีวิตร่วมกันฉันสามีภริยา อาจมีหรือไม่มีบุตร พ่อหรือแม่ อยู่กับบุตร หรือพี่น้องหรือญาติ ไม่เกินสองรุ่นใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน
👶👨👩‍🦰👵🧓ครอบครัวขยาย 29.88% (17,812 ครอบครัว)
ครอบครัวขยาย คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วย บุคคลตั้งแต่สามรุ่นขึ้นไป หรือครอบครัวเดี่ยวสองครอบครัวขึ้นไปที่มีความผูกพันทางสายโลหิตหรือเกี่ยวดองเป็น เครือญาติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน และอาศัยอยู่ในบ้านหรือบริเวณเดียวกัน
🙆‍♂️🙋‍♀️🙋ครัวเรือนที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ 1.93% (1,151 ครอบครัว)
ครัวเรือนที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ คือ ครัวเรือนที่มีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกันโดยไม่มีความสัมพันธ์ ฉันสามีภริยา ไม่มีความผูกพัน ทางสายโลหิต และไม่มีความ เกี่ยวดองเป็นเครือญาติ แต่มีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน
แนวโน้มทิศทางโครงสร้างครอบครัวไทย ประจำปี พ.ศ. 2566
Modal Title

สถิติลักษณะครอบครัวไทย ปี พ.ศ. 2566

สถิติลักษณะครอบครัวไทย ปี พ.ศ. 2566
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

สถิติลักษณะครอบครัวไทย ปี พ.ศ. 2566

สถิติลักษณะครอบครัวไทย ปี พ.ศ. 2566
Modal Title

รู้หรือไม่? ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรเท่าไหร่

รู้หรือไม่? ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรเท่าไหร่
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

รู้หรือไม่? ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรเท่าไหร่

รู้หรือไม่? ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรเท่าไหร่
Modal Title

6 วิธีรับมือเมื่อลูกติดยา

1. ตั้งสติ
ควบคุมอารมณ์ ไม่โวยวาย ดุด่า ทุบตีลูก จนลูกรู้สึกว่าตัวเองไม่มีที่พึ่ง
2. ยอมรับ
ยอมรับความจริงว่าลูกติดยา
3. เปิดใจ
พูดคุยกับลูก รับฟังปัญหา/สาเหตุทำไมลูกติดยา
4. ให้กำลังใจ
โอบกอด พูดคุยกับลูกด้วยความรัก
5. หาข้อมูลยาเสพติด/ข้อมูลการบำบัดรักษา
– อาการ ผลข้างเคียง
– วิธีเลิกยา
– คลินิกบำบัด/ให้คำปรึกษา ทั้งโรงพยาบาล และคลินิกของรัฐเอกชน
6. จูงใจเข้ารับการบำบัดรักษา
เมื่อเกิดความเข้าใจร่วมมือกันในการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยรักษาอาการติดยาเสพติดให้กับลูก คือ แพทย์และศูนย์บําบัดยาเสพติดที่ได้มาตรฐานจะช่วยให้คำแนะนำในการรักษาอาการติดยาเสพติด อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งให้คำแนะนำในด้านจิตวิทยาเพื่อให้ สามารถเลิกยาเสพติดและกลับคืนสู่สังคมได้อย่างมีคุณภาพ ทั้งยังไม่หวนกลับไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
.
สวท ขอร่วมสนับสนุนรวมพลังต่อต้านยาเสพติด
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #อนามัยการเจริญพันธ์ุ #วันต่อต้านยาเสพติด #ยาเสพติดให้โทษ #ยาเสพติด #ครอบครัว
6 วิธีรับมือเมื่อลูกติดยา
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

6 วิธีรับมือเมื่อลูกติดยา

1. ตั้งสติ
ควบคุมอารมณ์ ไม่โวยวาย ดุด่า ทุบตีลูก จนลูกรู้สึกว่าตัวเองไม่มีที่พึ่ง
2. ยอมรับ
ยอมรับความจริงว่าลูกติดยา
3. เปิดใจ
พูดคุยกับลูก รับฟังปัญหา/สาเหตุทำไมลูกติดยา
4. ให้กำลังใจ
โอบกอด พูดคุยกับลูกด้วยความรัก
5. หาข้อมูลยาเสพติด/ข้อมูลการบำบัดรักษา
– อาการ ผลข้างเคียง
– วิธีเลิกยา
– คลินิกบำบัด/ให้คำปรึกษา ทั้งโรงพยาบาล และคลินิกของรัฐเอกชน
6. จูงใจเข้ารับการบำบัดรักษา
เมื่อเกิดความเข้าใจร่วมมือกันในการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยรักษาอาการติดยาเสพติดให้กับลูก คือ แพทย์และศูนย์บําบัดยาเสพติดที่ได้มาตรฐานจะช่วยให้คำแนะนำในการรักษาอาการติดยาเสพติด อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งให้คำแนะนำในด้านจิตวิทยาเพื่อให้ สามารถเลิกยาเสพติดและกลับคืนสู่สังคมได้อย่างมีคุณภาพ ทั้งยังไม่หวนกลับไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
.
สวท ขอร่วมสนับสนุนรวมพลังต่อต้านยาเสพติด
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #อนามัยการเจริญพันธ์ุ #วันต่อต้านยาเสพติด #ยาเสพติดให้โทษ #ยาเสพติด #ครอบครัว
6 วิธีรับมือเมื่อลูกติดยา
Modal Title

สิทธิควรรู้ “สมรสเท่าเทียม”

สิทธิควรรู้ “สมรสเท่าเทียม” 🏳️‍🌈
.
ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม ผ่าน สว แล้ว โดยจะบังคับใช้ 120 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา
.
“สมรสเท่าเทียม” มีอะไรบ้าง
🟣 บุคคล 2 ฝ่ายทุกเพศสามารถสมรสกันได้ โดยต้องมีอายุ 18 ปีขึ้นไป
🔵 สถานะเป็น “คู่สมรส” แทนคำว่า “สามีภริยา”
🟢 ส่วนสิทธิประโยชน์สมรสเท่าเทียม “คู่สมรส”
🟡 สิทธิจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส
🟠 สิทธิรับบุตรบุญธรรม
🔴 สิทธิการลงนามยินยอมให้รักษาพยาบาลอีกฝ่าย
🟣 สิทธิได้รับประโยชน์ และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส เช่น สิทธิประกันสังคม
🔵 สิทธิเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล
🟢 อื่น ๆ
.
คู่รักหลากหลายทางเพศ จะได้สิทธิอะไรจากกฎหมายนี้บ้าง ?
1. 💕 สิทธิการได้ดูแลชีวิตของคู่รักของตน
คู่รักสามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ อาทิ การดูแลตัดสินใจเรื่องทางการแพทย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเบิกรักษาพยาบาล การตัดสินใจสำคัญทางการแพทย์ในกรณีที่คน ๆ นั้นไม่สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ หรือกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต อีกฝ่ายก็จะมีสิทธิในการจัดการศพได้ด้วยนั่นเอง
2. 💍 สิทธิในการแต่งงาน
ในอนาคตสามารถจดทะเบียนสมรสในประเทศไทยได้ รวมถึงมีกฎหมายรองรับพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สิทธิการหมั้น การจดทะเบียนสมรส รวมถึงการจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส รวมไปถึงการเป็นตัวแทนทางกฎหมาย สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม และสิทธิได้รับประโยชน์จากสวัสดิการจากรัฐ (อาทิ สวัสดิการข้าราชการ รับประโยชน์ทแทนตามสิทธิประกันสังคม) นอกจากนี้ยังได้สิทธิในการขอสัญชาติอีกด้วย
3. 👩‍👩‍👧‍👦 สิทธิการเป็นพ่อแม่ของลูก (ตามกฎหมาย)
พรบ.สมรสเท่าเทียม คู่รัก LGBTQIA+ สามารถเป็นผู้ปกครองของบุตรบุญธรรมร่วมกันได้ ทั้งนี้ ผู้รับบุตรบุญธรรมยังคงจะต้องมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
4. ⚖️ สิทธิในการหย่าร้าง
สิทธิในการแต่งงานที่เท่าเทียม นำมาซึ่งสิทธิที่เท่าเทียมกันหากคู่รักใช้ชีวิตมาจนจุดแยกจากกันด้วย โดยจะมีสิทธิในการฟ้องหย่า สิทธิในการฟ้องร้องอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น สิทธิการเลี้ยงดูบุตร การเรียกค่าเลี้ยงชีพตามแต่กรณีการหย่าร้างที่เกิดขึ้น และสิทธิในสินสมรส
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศทไทยฯ
ขอร่วมแสดงความยินดี ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม
เพราะเราเชื่อว่าทุกคน ควรได้รับความเท่าเทียมและการเคารพต่อกันและกัน
สิทธิควรรู้ "สมรสเท่าเทียม"
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

สิทธิควรรู้ “สมรสเท่าเทียม”

สิทธิควรรู้ “สมรสเท่าเทียม” 🏳️‍🌈
.
ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม ผ่าน สว แล้ว โดยจะบังคับใช้ 120 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา
.
“สมรสเท่าเทียม” มีอะไรบ้าง
🟣 บุคคล 2 ฝ่ายทุกเพศสามารถสมรสกันได้ โดยต้องมีอายุ 18 ปีขึ้นไป
🔵 สถานะเป็น “คู่สมรส” แทนคำว่า “สามีภริยา”
🟢 ส่วนสิทธิประโยชน์สมรสเท่าเทียม “คู่สมรส”
🟡 สิทธิจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส
🟠 สิทธิรับบุตรบุญธรรม
🔴 สิทธิการลงนามยินยอมให้รักษาพยาบาลอีกฝ่าย
🟣 สิทธิได้รับประโยชน์ และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส เช่น สิทธิประกันสังคม
🔵 สิทธิเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล
🟢 อื่น ๆ
.
คู่รักหลากหลายทางเพศ จะได้สิทธิอะไรจากกฎหมายนี้บ้าง ?
1. 💕 สิทธิการได้ดูแลชีวิตของคู่รักของตน
คู่รักสามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ อาทิ การดูแลตัดสินใจเรื่องทางการแพทย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเบิกรักษาพยาบาล การตัดสินใจสำคัญทางการแพทย์ในกรณีที่คน ๆ นั้นไม่สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ หรือกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต อีกฝ่ายก็จะมีสิทธิในการจัดการศพได้ด้วยนั่นเอง
2. 💍 สิทธิในการแต่งงาน
ในอนาคตสามารถจดทะเบียนสมรสในประเทศไทยได้ รวมถึงมีกฎหมายรองรับพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สิทธิการหมั้น การจดทะเบียนสมรส รวมถึงการจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส รวมไปถึงการเป็นตัวแทนทางกฎหมาย สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม และสิทธิได้รับประโยชน์จากสวัสดิการจากรัฐ (อาทิ สวัสดิการข้าราชการ รับประโยชน์ทแทนตามสิทธิประกันสังคม) นอกจากนี้ยังได้สิทธิในการขอสัญชาติอีกด้วย
3. 👩‍👩‍👧‍👦 สิทธิการเป็นพ่อแม่ของลูก (ตามกฎหมาย)
พรบ.สมรสเท่าเทียม คู่รัก LGBTQIA+ สามารถเป็นผู้ปกครองของบุตรบุญธรรมร่วมกันได้ ทั้งนี้ ผู้รับบุตรบุญธรรมยังคงจะต้องมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
4. ⚖️ สิทธิในการหย่าร้าง
สิทธิในการแต่งงานที่เท่าเทียม นำมาซึ่งสิทธิที่เท่าเทียมกันหากคู่รักใช้ชีวิตมาจนจุดแยกจากกันด้วย โดยจะมีสิทธิในการฟ้องหย่า สิทธิในการฟ้องร้องอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น สิทธิการเลี้ยงดูบุตร การเรียกค่าเลี้ยงชีพตามแต่กรณีการหย่าร้างที่เกิดขึ้น และสิทธิในสินสมรส
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศทไทยฯ
ขอร่วมแสดงความยินดี ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม
เพราะเราเชื่อว่าทุกคน ควรได้รับความเท่าเทียมและการเคารพต่อกันและกัน
สิทธิควรรู้ "สมรสเท่าเทียม"
Modal Title

12 วิธีเลี้ยงลูก ให้ห่างไกลยาเสพติด

• ทำกิจกรรมร่วมกัน
• รับฟังปัญหาของลูก
• ฝึกให้คิดเลือกทำสิ่งที่ดี
• สร้างกฎระเบียบภายในบ้าน
• ให้รู้จักหน้าที่มีความรับผิดชอบ
• ให้รู้จักควบคุมอารมณ์
• สอนลูกให้เลือกคบเพื่อน
• ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด
• ให้ความรัก ความใส่ใจ
• ฝึกทักษะ การปฏิเสธยาเสพติด
• เข้าใจธรรมชาติในแต่ละช่วงวัย
• ทำความรู้จักเพื่อนของลูก
.
สวท ขอร่วมสนับสนุนรวมพลังต่อต้านยาเสพติด
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #อนามัยการเจริญพันธ์ุ #วันต่อต้านยาเสพติด #ยาเสพติดให้โทษ #ยาเสพติด #ครอบครัว
12 วิธีเลี้ยงลูก ให้ห่างไกลยาเสพติด
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

12 วิธีเลี้ยงลูก ให้ห่างไกลยาเสพติด

• ทำกิจกรรมร่วมกัน
• รับฟังปัญหาของลูก
• ฝึกให้คิดเลือกทำสิ่งที่ดี
• สร้างกฎระเบียบภายในบ้าน
• ให้รู้จักหน้าที่มีความรับผิดชอบ
• ให้รู้จักควบคุมอารมณ์
• สอนลูกให้เลือกคบเพื่อน
• ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด
• ให้ความรัก ความใส่ใจ
• ฝึกทักษะ การปฏิเสธยาเสพติด
• เข้าใจธรรมชาติในแต่ละช่วงวัย
• ทำความรู้จักเพื่อนของลูก
.
สวท ขอร่วมสนับสนุนรวมพลังต่อต้านยาเสพติด
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #อนามัยการเจริญพันธ์ุ #วันต่อต้านยาเสพติด #ยาเสพติดให้โทษ #ยาเสพติด #ครอบครัว
12 วิธีเลี้ยงลูก ให้ห่างไกลยาเสพติด

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้ในส่วนการตลาด

    คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

บันทึกการตั้งค่า