fbpx

อินโฟกราฟิกส์

Modal Title

บอกรักอย่างไร? ถูกใจผู้ให้ประทับใจผู้รับ💗

บอกรักด้วยคำพูด / Words of Affirmation 💞
ใช้เวลาร่วมกัน / Quality time 🕖
การสัมผัส / Physical Touch 🫶
ให้ความช่วยเหลือ / Act of Service 💪
การให้สิ่งของ / Giving Gifts 🎁
.
นอกจากการบอกรักในแบบที่คุณชอบลองสังเกต ภาษารักทั้ง 5 และสื่อรักในแบบที่คนรักชอบ เพื่อเติมเต็มความรักให้กันและกัน ให้รักอย่างเข้าใจกันมากขึ้น
.
ปรึกษาวางแผนครอบครัว คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 1452
.
#วาเลนไทน์ #วางแผนครอบครัว #สวท #บอกรัก #วันแห่งความรัก #วันแห่งความรัก💕

บอกรักอย่างไร? ถูกใจผู้ให้ประทับใจผู้รับ💗
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

บอกรักอย่างไร? ถูกใจผู้ให้ประทับใจผู้รับ💗

บอกรักด้วยคำพูด / Words of Affirmation 💞
ใช้เวลาร่วมกัน / Quality time 🕖
การสัมผัส / Physical Touch 🫶
ให้ความช่วยเหลือ / Act of Service 💪
การให้สิ่งของ / Giving Gifts 🎁
.
นอกจากการบอกรักในแบบที่คุณชอบลองสังเกต ภาษารักทั้ง 5 และสื่อรักในแบบที่คนรักชอบ เพื่อเติมเต็มความรักให้กันและกัน ให้รักอย่างเข้าใจกันมากขึ้น
.
ปรึกษาวางแผนครอบครัว คลินิกเวชกรรม สวท ทั้ง 9 แห่ง โทร 1452
.
#วาเลนไทน์ #วางแผนครอบครัว #สวท #บอกรัก #วันแห่งความรัก #วันแห่งความรัก💕

บอกรักอย่างไร? ถูกใจผู้ให้ประทับใจผู้รับ💗
Modal Title

6 เทคนิคเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตเด็กแข็งแรง

6 เทคนิคเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตเด็กแข็งแรง 💖
.
ในชีวิตคนเราต้องผ่านความยากลำบากเป็นเรื่องธรรมดา ความเข้มแข็งในจิตใจของแต่ละคนจะทำให้เราผ่านเรื่องเหล่านั้นไปได้ การรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้นอยู่กับพื้นฐานของแต่ละคน เรามาสร้างพื้นฐานให้ลูกของเรามีความเข้มแข็งกัน ด้วยแนวทางดังต่อไปนี้
.
1. ออกกำลังกาย 🏃‍♀️
2. อาหารดีช่วยสร้างสุขภาพจิตดี 🥗
3. ให้ลูกฟังเพลงหรือเล่นดนตรี 🎹
4. ปล่อยให้ลูกได้เล่นอย่างอิสระ 🎨
5. เป็นพ่อแม่ที่ดีสำหรับลูก 💞
6. ควบคุมการใช้เทคโนโลยีในบ้าน 🖥
.
การเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตแข็งแรงเพื่อให้เด็ก ๆ มีสุขภาวะสมวัยทั้งร่างกาย จิตใจ สังคมและปัญญา รวมทั้งมีเกราะป้องกันภัยที่ดีในวันข้างหน้า
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กในรูปแบบการถูกทารุณกรรมและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากเด็กและส่งเสริมให้ผู้ใหญ่รับฟังและเข้าใจเด็กมากขึ้น❤️
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #วันเด็กแห่งชาติ #วันเด็ก

6 เทคนิคเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตเด็กแข็งแรง
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

6 เทคนิคเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตเด็กแข็งแรง

6 เทคนิคเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตเด็กแข็งแรง 💖
.
ในชีวิตคนเราต้องผ่านความยากลำบากเป็นเรื่องธรรมดา ความเข้มแข็งในจิตใจของแต่ละคนจะทำให้เราผ่านเรื่องเหล่านั้นไปได้ การรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้นอยู่กับพื้นฐานของแต่ละคน เรามาสร้างพื้นฐานให้ลูกของเรามีความเข้มแข็งกัน ด้วยแนวทางดังต่อไปนี้
.
1. ออกกำลังกาย 🏃‍♀️
2. อาหารดีช่วยสร้างสุขภาพจิตดี 🥗
3. ให้ลูกฟังเพลงหรือเล่นดนตรี 🎹
4. ปล่อยให้ลูกได้เล่นอย่างอิสระ 🎨
5. เป็นพ่อแม่ที่ดีสำหรับลูก 💞
6. ควบคุมการใช้เทคโนโลยีในบ้าน 🖥
.
การเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตแข็งแรงเพื่อให้เด็ก ๆ มีสุขภาวะสมวัยทั้งร่างกาย จิตใจ สังคมและปัญญา รวมทั้งมีเกราะป้องกันภัยที่ดีในวันข้างหน้า
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กในรูปแบบการถูกทารุณกรรมและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากเด็กและส่งเสริมให้ผู้ใหญ่รับฟังและเข้าใจเด็กมากขึ้น❤️
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #วันเด็กแห่งชาติ #วันเด็ก

6 เทคนิคเลี้ยงลูกให้สุขภาพจิตเด็กแข็งแรง
Modal Title

หยุด 6 พฤติกรรมทำร้ายลูกทางอ้อม

หยุด 6 พฤติกรรมทำร้ายลูกทางอ้อม 🚫
.
พ่อแม่อาจจะไม่รู้ตัวว่าความเป็นห่วงที่มีต่อลูกจนมากเกินไปอาจส่งผลเสียระยะยาวต่อลูกในอนาคตได้ ทำให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างน้อยลง พูดช้า ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นยาก ไม่กล้าตัดสินใจด้วยตนเอง ไม่เป็นตัวของตัวเอง ไม่กล้าแสดงออกในสิ่งที่คิดหรือต้องการจริงๆ มาดูกันว่ามีพฤติกรรมใดบ้างที่เป็นการทำร้ายลูกทางอ้อม
.
1. ให้เล่นมือถือ เพื่อจะได้สงบและนิ่ง
2. เปิดทีวีให้ดูตลอดเวลา
3. เลี้ยงไว้ในคอกกั้นตามลำพังตลอดเวลา
4. พูด อย่า ไม่ ห้าม จนติดปาก
5. ขู่ ดุ ด่าลูก
6. ลงโทษลูกด้วยอารมณ์ และใช้ความรุนแรง
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กในรูปแบบการถูกทารุณกรรมและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากเด็กและส่งเสริมให้ผู้ใหญ่รับฟังและเข้าใจเด็กมากขึ้น❤️
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #วันเด็กแห่งชาติ #วันเด็ก

หยุด 6 พฤติกรรมทำร้ายลูกทางอ้อม
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

หยุด 6 พฤติกรรมทำร้ายลูกทางอ้อม

หยุด 6 พฤติกรรมทำร้ายลูกทางอ้อม 🚫
.
พ่อแม่อาจจะไม่รู้ตัวว่าความเป็นห่วงที่มีต่อลูกจนมากเกินไปอาจส่งผลเสียระยะยาวต่อลูกในอนาคตได้ ทำให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างน้อยลง พูดช้า ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นยาก ไม่กล้าตัดสินใจด้วยตนเอง ไม่เป็นตัวของตัวเอง ไม่กล้าแสดงออกในสิ่งที่คิดหรือต้องการจริงๆ มาดูกันว่ามีพฤติกรรมใดบ้างที่เป็นการทำร้ายลูกทางอ้อม
.
1. ให้เล่นมือถือ เพื่อจะได้สงบและนิ่ง
2. เปิดทีวีให้ดูตลอดเวลา
3. เลี้ยงไว้ในคอกกั้นตามลำพังตลอดเวลา
4. พูด อย่า ไม่ ห้าม จนติดปาก
5. ขู่ ดุ ด่าลูก
6. ลงโทษลูกด้วยอารมณ์ และใช้ความรุนแรง
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กในรูปแบบการถูกทารุณกรรมและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากเด็กและส่งเสริมให้ผู้ใหญ่รับฟังและเข้าใจเด็กมากขึ้น❤️
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #วันเด็กแห่งชาติ #วันเด็ก

หยุด 6 พฤติกรรมทำร้ายลูกทางอ้อม
Modal Title

สังเกตพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงปัญหาสุขภาพจิตลูกรัก

สังเกตพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงปัญหาสุขภาพจิตลูกรัก 💔
.
โดยทั่วไป ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ หากมีปัญหาบางอย่างเกิดขึ้นจนเริ่มมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิต นั่นหมายความว่า เราควรต้องให้ความใส่ใจแล้ว เริ่มต้นจากการสังเกตพฤติกรรม ดังนี้
.
วัยเด็กเล็ก 🍼 : เด็กเล็กมักแสดงความเครียด ซึมเศร้า ด้วยพฤติกรรมถดถอย เช่น พูดช้า ดื้อ ซน เอาแต่ใจเกินปกติ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เหมือนเดิม มีปัญหาการกิน การนอน
.
วัยเรียน 📖 : ไม่มีสมาธิ มีปัญหาเรียน ดื้อ ซนมาก ถูกแกล้ง เข้ากับเพื่อนไม่ได้ ไม่ไปเรียน ซึมเศร้า บางคนวิตกกังวล ย้ำคิดย้ำทำ
.
วัยรุ่น 👩‍🦰 : คบเพื่อน ติดโซเชียล ติดเกม ติดช้อปออนไลน์ ยาเสพติด ปัญหาทางอารมณ์ ซึมเศร้า วิตกกังวล
.
ข้อควรรู้❗️
หากพฤติกรรมเกิดชั่วคราวและดีขึ้น อาจไม่เกี่ยวข้องกับโรคทางจิตเวช แต่ถ้ามีผลกับการใช้ชีวิตของเด็ก การเรียน การอยู่กับคนอื่น อาจจำเป็นต้องขอรับคำปรึกษาจากจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กในรูปแบบการถูกทารุณกรรมและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากเด็กและส่งเสริมให้ผู้ใหญ่รับฟังและเข้าใจเด็กมากขึ้น❤️
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #วันเด็กแห่งชาติ #วันเด็ก #สุขภาพจิตเด็ก #สุขภาพจิตลูก

สังเกตพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงปัญหาสุขภาพจิตลูกรัก
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

สังเกตพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงปัญหาสุขภาพจิตลูกรัก

สังเกตพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงปัญหาสุขภาพจิตลูกรัก 💔
.
โดยทั่วไป ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ หากมีปัญหาบางอย่างเกิดขึ้นจนเริ่มมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิต นั่นหมายความว่า เราควรต้องให้ความใส่ใจแล้ว เริ่มต้นจากการสังเกตพฤติกรรม ดังนี้
.
วัยเด็กเล็ก 🍼 : เด็กเล็กมักแสดงความเครียด ซึมเศร้า ด้วยพฤติกรรมถดถอย เช่น พูดช้า ดื้อ ซน เอาแต่ใจเกินปกติ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เหมือนเดิม มีปัญหาการกิน การนอน
.
วัยเรียน 📖 : ไม่มีสมาธิ มีปัญหาเรียน ดื้อ ซนมาก ถูกแกล้ง เข้ากับเพื่อนไม่ได้ ไม่ไปเรียน ซึมเศร้า บางคนวิตกกังวล ย้ำคิดย้ำทำ
.
วัยรุ่น 👩‍🦰 : คบเพื่อน ติดโซเชียล ติดเกม ติดช้อปออนไลน์ ยาเสพติด ปัญหาทางอารมณ์ ซึมเศร้า วิตกกังวล
.
ข้อควรรู้❗️
หากพฤติกรรมเกิดชั่วคราวและดีขึ้น อาจไม่เกี่ยวข้องกับโรคทางจิตเวช แต่ถ้ามีผลกับการใช้ชีวิตของเด็ก การเรียน การอยู่กับคนอื่น อาจจำเป็นต้องขอรับคำปรึกษาจากจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กในรูปแบบการถูกทารุณกรรมและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากเด็กและส่งเสริมให้ผู้ใหญ่รับฟังและเข้าใจเด็กมากขึ้น❤️
.
#สมาคมวางแผนครอบครัว #สวท #วางแผนครอบครัว #วันเด็กแห่งชาติ #วันเด็ก #สุขภาพจิตเด็ก #สุขภาพจิตลูก

สังเกตพฤติกรรมเสี่ยง เลี่ยงปัญหาสุขภาพจิตลูกรัก
Modal Title

4 โรคติดต่อที่มากับเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน

4 โรคติดต่อที่มากับเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน
.
1.ซิฟิลิส
• เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
• อาการแตกต่างกันตามระยะของโรค เช่น มีแผลที่อวัยวะเพศ มีผื่นขึ้นตามตัว มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต หรือไม่มีอาการใดๆ
• สามารถติดต่อ จากการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ทวารหนัก ช่องปาก และจากมารดาสู่ทารก
2.โรคหนองใน
• เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อยเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
• ในเพศชายมักจะพบว่ามีปัสสาวะแสบขัด มีหนองไหลจากท่อปัสสาวะ และเพิ่มโอกาสในการเป็นหมันในอนาคต
• ในเพศหญิงมักไม่มีอาการหรือมีเพียงตกขาวผิดปกติ ไม่คัน เสี่ยงต่อการเกิดภาวะมีบุตรยาก ท้องนอกมดลูก
3.กลุ่มอาการภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (โรคเอดส์)
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี ช่องทางการติดต่อที่สำคัญได้แก่
• การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีโดยไม่ป้องกัน
• การใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ
• การสัมผัสเลือดหรือน้ำเหลืองของผู้ติดเชื้อ
• การรับเชื้อมาจากมารดาที่ติดเชื้อทั้งขณะตั้งครรภ์
4.โรคไวรัสตับอักเสบบี
• ผู้เป็นพาหะมักไม่มีอาการ
• ผู้ติดเชื้ออาจมีตาเหลือง ตัวเหลือง ปัสสาวะเหลืองเข้ม ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
• สามารถติดต่อได้จากการมีเพศสัมพันธ์ และจากมารดาสู่ทารกในครรภ์
.
ควรสวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง รวมกับการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ เช่น กินยาคุม ใส่ห่วง ฉีดยาคุม หรือฝังยาคุมกำเนิด เพื่อความปลอดภัยในการมีเพศสัมพันธ์ และป้องกันท้องไม่พร้อม
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
4 โรคติดต่อที่มากับเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

4 โรคติดต่อที่มากับเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน

4 โรคติดต่อที่มากับเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน
.
1.ซิฟิลิส
• เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
• อาการแตกต่างกันตามระยะของโรค เช่น มีแผลที่อวัยวะเพศ มีผื่นขึ้นตามตัว มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต หรือไม่มีอาการใดๆ
• สามารถติดต่อ จากการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ทวารหนัก ช่องปาก และจากมารดาสู่ทารก
2.โรคหนองใน
• เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อยเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
• ในเพศชายมักจะพบว่ามีปัสสาวะแสบขัด มีหนองไหลจากท่อปัสสาวะ และเพิ่มโอกาสในการเป็นหมันในอนาคต
• ในเพศหญิงมักไม่มีอาการหรือมีเพียงตกขาวผิดปกติ ไม่คัน เสี่ยงต่อการเกิดภาวะมีบุตรยาก ท้องนอกมดลูก
3.กลุ่มอาการภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (โรคเอดส์)
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี ช่องทางการติดต่อที่สำคัญได้แก่
• การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีโดยไม่ป้องกัน
• การใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ
• การสัมผัสเลือดหรือน้ำเหลืองของผู้ติดเชื้อ
• การรับเชื้อมาจากมารดาที่ติดเชื้อทั้งขณะตั้งครรภ์
4.โรคไวรัสตับอักเสบบี
• ผู้เป็นพาหะมักไม่มีอาการ
• ผู้ติดเชื้ออาจมีตาเหลือง ตัวเหลือง ปัสสาวะเหลืองเข้ม ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
• สามารถติดต่อได้จากการมีเพศสัมพันธ์ และจากมารดาสู่ทารกในครรภ์
.
ควรสวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง รวมกับการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ เช่น กินยาคุม ใส่ห่วง ฉีดยาคุม หรือฝังยาคุมกำเนิด เพื่อความปลอดภัยในการมีเพศสัมพันธ์ และป้องกันท้องไม่พร้อม
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
4 โรคติดต่อที่มากับเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน
Modal Title

PrEPกับPEPไม่เหมือนกันยังไง

PrEP&PEP ไม่เหมือนกันยังไง ต้องไปดู!
.
ยาทั้ง 2 อย่างนี้นอกจากใช้ต่างวัตถุประสงค์ แล้วยังมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันดังนี้
เพร็พ (PrEP) ย่อมาจาก Pre-Exposure Prophylaxis คือยาที่ใช้ในการป้องกันเชื้อเอชไอวี
เป็ป (PEP) ย่อมาจาก Post-Exposure Prophylaxis เป็นยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
.
กินเพื่อ
เพร็พ (PrEP) ป้องกัน
เป็ป (PEP) ต้านเชื้อ
.
เริ่มกินเมื่อไหร่
เพร็พ (PrEP) ก่อนสัมผัสเชื้อ ควรกินก่อนสัมผัสเชื้อ 7 วัน
เป็ป (PEP) หลังสัมผัสเชื้อ ต้องกินภายใน 72 ชั่วโมง หลังสัมผัสเชื้อ
.
หยุดยาได้เมื่อไหร่
*ก่อนหยุดยาต้องพบแพทย์ทุกครั้ง*
เพร็พ (PrEP) เมื่อพบว่าตัวเองไม่อยู่ในความเสี่ยงเเล้ว*
เป็ป (PEP) กินให้ครบ 28 วัน*
.
ใครควรกินบ้าง
เพร็พ (PrEP) มีพฤติกรรมเสี่ยงจะติดเชื้อ (เปลี่ยนคู่นอนบ่อย/ชายรักชาย /คู่นอนมีเชื้อเอชไอวี/ผู้ให้บริการทางเพศ ฯลฯ)
เป็ป (PEP) คนที่มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ (ถุงยางอนามัยแตก/มีเพศสัมพันธ์ขณะไม่มีสติ /มีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ ฯลฯ)
.
ยาทั้ง 2 อย่างนี้ไม่ได้ช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆได้ ทางที่ดีควรสวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง เพื่อความปลอดภัยในการมีเพศสัมพันธ์
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
PrEPกับPEPไม่เหมือนกันยังไง
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

PrEPกับPEPไม่เหมือนกันยังไง

PrEP&PEP ไม่เหมือนกันยังไง ต้องไปดู!
.
ยาทั้ง 2 อย่างนี้นอกจากใช้ต่างวัตถุประสงค์ แล้วยังมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันดังนี้
เพร็พ (PrEP) ย่อมาจาก Pre-Exposure Prophylaxis คือยาที่ใช้ในการป้องกันเชื้อเอชไอวี
เป็ป (PEP) ย่อมาจาก Post-Exposure Prophylaxis เป็นยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
.
กินเพื่อ
เพร็พ (PrEP) ป้องกัน
เป็ป (PEP) ต้านเชื้อ
.
เริ่มกินเมื่อไหร่
เพร็พ (PrEP) ก่อนสัมผัสเชื้อ ควรกินก่อนสัมผัสเชื้อ 7 วัน
เป็ป (PEP) หลังสัมผัสเชื้อ ต้องกินภายใน 72 ชั่วโมง หลังสัมผัสเชื้อ
.
หยุดยาได้เมื่อไหร่
*ก่อนหยุดยาต้องพบแพทย์ทุกครั้ง*
เพร็พ (PrEP) เมื่อพบว่าตัวเองไม่อยู่ในความเสี่ยงเเล้ว*
เป็ป (PEP) กินให้ครบ 28 วัน*
.
ใครควรกินบ้าง
เพร็พ (PrEP) มีพฤติกรรมเสี่ยงจะติดเชื้อ (เปลี่ยนคู่นอนบ่อย/ชายรักชาย /คู่นอนมีเชื้อเอชไอวี/ผู้ให้บริการทางเพศ ฯลฯ)
เป็ป (PEP) คนที่มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ (ถุงยางอนามัยแตก/มีเพศสัมพันธ์ขณะไม่มีสติ /มีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ ฯลฯ)
.
ยาทั้ง 2 อย่างนี้ไม่ได้ช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆได้ ทางที่ดีควรสวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง เพื่อความปลอดภัยในการมีเพศสัมพันธ์
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
PrEPกับPEPไม่เหมือนกันยังไง
Modal Title

6 ข้อ ของมันต้องมี “ถุงยางอนามัย”

6 ข้อ ของมันต้องมี “ถุงยางอนามัย” ✅
.
1. ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี หนองใน ซิฟิลิส
2. การใช้ถุงยางอนามัยเท่ากับความใส่ใจไม่ใช่เรื่องน่ารังเกียจ สนุกไปพร้อมกับความใส่ใจ ปลอดภัยด้วยกันทั้งคู่
3. ปลอดภัยไว้ก่อน ต่อให้เป็นแฟน หากไม่เคยมีการตรวจหาโรคควรป้องกันไว้ก่อน
4. ถุงยางอนามัยมีลูกเล่นมากมาย ทั้งรูปลักษณ์และพื้นผิว ช่วยสร้างความสนุกทางเพศไม่น่าเบื่อ
5. เลือกใช้ถุงยางที่ผ่านมาตรฐาน อย. เพื่อรับประกันความปลอดภัย
6. ยืดอกพกถุง คนที่พกถุงยางอนามัย คือคนที่รอบคอบในการใช้ชีวิต ไม่ใช่เรื่องน่าอาย เพราะการมีเพศสัมพันธ์ อาจเกิดขึ้นได้อย่างไม่ทันตั้งตัว ควรเตรียมความพร้อมเสมอ
.
วิธีการใส่ถุงยางอนามัยให้ถูกวิธี
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
6 ข้อ ของมันต้องมี “ถุงยางอนามัย”
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

6 ข้อ ของมันต้องมี “ถุงยางอนามัย”

6 ข้อ ของมันต้องมี “ถุงยางอนามัย” ✅
.
1. ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี หนองใน ซิฟิลิส
2. การใช้ถุงยางอนามัยเท่ากับความใส่ใจไม่ใช่เรื่องน่ารังเกียจ สนุกไปพร้อมกับความใส่ใจ ปลอดภัยด้วยกันทั้งคู่
3. ปลอดภัยไว้ก่อน ต่อให้เป็นแฟน หากไม่เคยมีการตรวจหาโรคควรป้องกันไว้ก่อน
4. ถุงยางอนามัยมีลูกเล่นมากมาย ทั้งรูปลักษณ์และพื้นผิว ช่วยสร้างความสนุกทางเพศไม่น่าเบื่อ
5. เลือกใช้ถุงยางที่ผ่านมาตรฐาน อย. เพื่อรับประกันความปลอดภัย
6. ยืดอกพกถุง คนที่พกถุงยางอนามัย คือคนที่รอบคอบในการใช้ชีวิต ไม่ใช่เรื่องน่าอาย เพราะการมีเพศสัมพันธ์ อาจเกิดขึ้นได้อย่างไม่ทันตั้งตัว ควรเตรียมความพร้อมเสมอ
.
วิธีการใส่ถุงยางอนามัยให้ถูกวิธี
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
6 ข้อ ของมันต้องมี “ถุงยางอนามัย”
Modal Title

HIVกับAIDSต่างกันอย่างไร?

HIV🦠 คือ เชื้อไวรัสชนิดหนึ่งที่ทำลายภูมิคุ้มกันของร่างกาย เมื่อเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะยึดจับและทำลายเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 เป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หากไม่รับการรักษา ระดับ CD4 ลดต่ำลงเรื่อยๆ จะทำให้ป่วยเป็นเอดส์ได้
.
AIDS🩸 คือ คนที่ติดเชื้อ HIV ที่มีระดับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 ต่ำกว่า 200 ระบบภูมิคุ้มกันและเม็ดเลือดขาวถูกทำลายจนไม่สามารถต้านทานโรค ได้ หรือเรียกว่า “ภูมิคุ้มกันบกพร่อง” ร่างกายจึงมีโอกาสติดเชื้อต่างๆ ได้ง่าย
.
ระยะแรก ร่างกายอยู่ในภาวะเริ่มติดเชื้อ ไม่ค่อยแสดงอาการมาก
ระยะที่ 2 มีตุ่มขึ้นตามร่างกาย มีเชื้อราในปาก เป็นงูสวัด
ระยะที่ 3 เป็นโรคเอดส์ มีการติดเชื้อฉวยโอกาส เช่น เชื้อราขึ้นสมอง วัณโรค
ระยะที่ 1 และ 2 ของการติดเชื้อ HIV ยังไม่ถือเป็นโรคเอดส์ ส่วนระยะที่ 3 ของการติดเชื้อ HIV เรียกว่าเป็นโรคเอดส์
.
❌ กอด การสัมผัส
❌ รับประทานอาหารร่วมกัน
❌ ไอ หรือจาม
❌ แมลง หรือยุงกัด
❌การว่ายน้ำในสระว่ายน้ำ
.
เชื้อ HIV ติดต่อได้ 3 ช่องทาง คือ ผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน ทางเลือด และจากแม่สู่ทารกในครรภ์ ผู้ป่วยเอชไอวี สามารถมีเพศสัมพันธ์และสร้างครอบครัวได้ แต่ต้องมีการป้องกัน เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อและการรับเชื้ออื่นๆ ที่แฝงมาด้วย
.
หากรู้ตัวว่ามีเชื้อ HIV ให้รีบเข้ารับการรักษา และรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง เพราะ HIV สามารถรักษาและห่างไกลจากโรคเอดส์ได้ ผู้ป่วยสามารถมีอายุยืนยาวเหมือนคนปกติทั่วไป
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
HIVกับAIDSต่างกันอย่างไร?
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

HIVกับAIDSต่างกันอย่างไร?

HIV🦠 คือ เชื้อไวรัสชนิดหนึ่งที่ทำลายภูมิคุ้มกันของร่างกาย เมื่อเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะยึดจับและทำลายเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 เป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หากไม่รับการรักษา ระดับ CD4 ลดต่ำลงเรื่อยๆ จะทำให้ป่วยเป็นเอดส์ได้
.
AIDS🩸 คือ คนที่ติดเชื้อ HIV ที่มีระดับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 ต่ำกว่า 200 ระบบภูมิคุ้มกันและเม็ดเลือดขาวถูกทำลายจนไม่สามารถต้านทานโรค ได้ หรือเรียกว่า “ภูมิคุ้มกันบกพร่อง” ร่างกายจึงมีโอกาสติดเชื้อต่างๆ ได้ง่าย
.
ระยะแรก ร่างกายอยู่ในภาวะเริ่มติดเชื้อ ไม่ค่อยแสดงอาการมาก
ระยะที่ 2 มีตุ่มขึ้นตามร่างกาย มีเชื้อราในปาก เป็นงูสวัด
ระยะที่ 3 เป็นโรคเอดส์ มีการติดเชื้อฉวยโอกาส เช่น เชื้อราขึ้นสมอง วัณโรค
ระยะที่ 1 และ 2 ของการติดเชื้อ HIV ยังไม่ถือเป็นโรคเอดส์ ส่วนระยะที่ 3 ของการติดเชื้อ HIV เรียกว่าเป็นโรคเอดส์
.
❌ กอด การสัมผัส
❌ รับประทานอาหารร่วมกัน
❌ ไอ หรือจาม
❌ แมลง หรือยุงกัด
❌การว่ายน้ำในสระว่ายน้ำ
.
เชื้อ HIV ติดต่อได้ 3 ช่องทาง คือ ผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน ทางเลือด และจากแม่สู่ทารกในครรภ์ ผู้ป่วยเอชไอวี สามารถมีเพศสัมพันธ์และสร้างครอบครัวได้ แต่ต้องมีการป้องกัน เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อและการรับเชื้ออื่นๆ ที่แฝงมาด้วย
.
หากรู้ตัวว่ามีเชื้อ HIV ให้รีบเข้ารับการรักษา และรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง เพราะ HIV สามารถรักษาและห่างไกลจากโรคเอดส์ได้ ผู้ป่วยสามารถมีอายุยืนยาวเหมือนคนปกติทั่วไป
.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอสนับสนุนความเท่าเทียม ทั้งด้านบริการการรักษา กฎหมาย การเข้าถึงเทคโนโลยี และการอยู่ร่วมกันในสังคม
.
HIVกับAIDSต่างกันอย่างไร?
Modal Title

5 วิธี ลดความรุนแรงในครอบครัว

24
1. สร้างความรักความผูกพัน ชื่นชม พูดคุย ทำกิจกรรม ร่วมกัน
2. จัดการความเครียด ออกกำลัง กาย นั่งสมาธิ
3. สื่อสารสร้างสรรค์ รู้จักประนี ประนอม เลี่ยงการโต้เถียง ไม่กดดัน
4. ไม่ใช้ความรุนแรง แก้ปัญหา แบบมีเหตุมีผล ใจเย็นและ รับฟัง
5. เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูกเพราะลูกเลียนแบบพ่อแม่
6. มีเวลาให้ครอบครัว ดูแล เอาใจใส่ มอบความรักไม่ให้ ขาดความอบอุ่น
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอร่วมสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรง ไม่ว่าจะเพศใดก็ตาม
5 วิธี ลดความรุนแรงในครอบครัว
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

5 วิธี ลดความรุนแรงในครอบครัว

24
1. สร้างความรักความผูกพัน ชื่นชม พูดคุย ทำกิจกรรม ร่วมกัน
2. จัดการความเครียด ออกกำลัง กาย นั่งสมาธิ
3. สื่อสารสร้างสรรค์ รู้จักประนี ประนอม เลี่ยงการโต้เถียง ไม่กดดัน
4. ไม่ใช้ความรุนแรง แก้ปัญหา แบบมีเหตุมีผล ใจเย็นและ รับฟัง
5. เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูกเพราะลูกเลียนแบบพ่อแม่
6. มีเวลาให้ครอบครัว ดูแล เอาใจใส่ มอบความรักไม่ให้ ขาดความอบอุ่น
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอร่วมสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรง ไม่ว่าจะเพศใดก็ตาม
5 วิธี ลดความรุนแรงในครอบครัว
Modal Title

5 คำแนะนำ สำหรับผู้พบเห็นความรุนแรงในครอบครัว

ความรุนแรงในครอบครัว เป็นเรื่องของเราทุกคน ซึ่งการกระทำที่ทำให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพ รวมถึงบังคับหรือใช้อำนาจครอบงำให้บุคคลในครอบครัวต้องกระทำ/ไม่กระทำ หรือยอมรับ “เป็นการกระทำโดยมิชอบ” หากพบเห็นการใช้ความรุนแรงในครอบครัว สามารถทำได้ดังนี้
1. แจ้งเจ้าหน้าที่ดำเนินการระงับเหตุโดยเร็ว
ซึ่งจะได้รับการคุ้มครองตามมาตรา 5 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 หากแจ้งเหตุตามความเป็นจริง
 
2. สถานที่รับแจ้งเหตุ
กรุงเทพมหานคร แจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ส่วนภูมิภาค แจ้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ซึ่งมีในโรงพยาบาลของรัฐทุกแห่ง สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดซึ่งมีทุกจังหวัด
 
3. แจ้งเหตุความรุนแรงในครอบครัว
แก้เจ้าหน้าที่ตำรวจ นายอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
 
5. วิธีการแจ้งเหตุต่อเจ้าหน้าที่
เช่น แจ้งโดยวาจา แจ้งเป็นหนังสือ สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 แจ้งด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
 
6. ข้อควรระวังสำหรับผู้แจ้งเหตุ
ไม่ควรเผยแพร่ภาพ เรื่องราว หรือข้อมูลที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้กระทำความรุนแรงในครอบครัวหรือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอร่วมสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรง ไม่ว่าจะเพศใดก็ตาม 
5 คำแนะนำ สำหรับผู้พบเห็นความรุนแรงในครอบครัว
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

5 คำแนะนำ สำหรับผู้พบเห็นความรุนแรงในครอบครัว

ความรุนแรงในครอบครัว เป็นเรื่องของเราทุกคน ซึ่งการกระทำที่ทำให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพ รวมถึงบังคับหรือใช้อำนาจครอบงำให้บุคคลในครอบครัวต้องกระทำ/ไม่กระทำ หรือยอมรับ “เป็นการกระทำโดยมิชอบ” หากพบเห็นการใช้ความรุนแรงในครอบครัว สามารถทำได้ดังนี้
1. แจ้งเจ้าหน้าที่ดำเนินการระงับเหตุโดยเร็ว
ซึ่งจะได้รับการคุ้มครองตามมาตรา 5 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 หากแจ้งเหตุตามความเป็นจริง
 
2. สถานที่รับแจ้งเหตุ
กรุงเทพมหานคร แจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ส่วนภูมิภาค แจ้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ซึ่งมีในโรงพยาบาลของรัฐทุกแห่ง สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดซึ่งมีทุกจังหวัด
 
3. แจ้งเหตุความรุนแรงในครอบครัว
แก้เจ้าหน้าที่ตำรวจ นายอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
 
5. วิธีการแจ้งเหตุต่อเจ้าหน้าที่
เช่น แจ้งโดยวาจา แจ้งเป็นหนังสือ สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 แจ้งด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
 
6. ข้อควรระวังสำหรับผู้แจ้งเหตุ
ไม่ควรเผยแพร่ภาพ เรื่องราว หรือข้อมูลที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้กระทำความรุนแรงในครอบครัวหรือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอร่วมสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรง ไม่ว่าจะเพศใดก็ตาม 
5 คำแนะนำ สำหรับผู้พบเห็นความรุนแรงในครอบครัว
Modal Title

ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ

การถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ อาจไม่ใช่เรื่องไกลตัวในยุคสังคมปัจจุบัน แต่ก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นไม่ว่าจะกับใครหรือเพศไหนก็ตาม เพราะฉะนั้นเราทุกคนควรรู้ไว้เมื่อถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ ควรทำอย่างไรดี
1. ตั้งสติ หลบหนีไปบริเวณที่มีทางออก
ไม่ควรเข้าไปอยู่ในตู้เสื้อผ้า ห้องน้ำ ห้องเก็บของ ห้องครัว โรงรถ
 
2. การขอความช่วยเหลือ
เพื่อนบ้าน ผู้นำชุมชน รปภ.หมู่บ้าน สถานีตำรวจ รพ.สต./โรงพยาบาล
 
3. โทรหา
สายด่วน191 หรือสายด่วนศูนย์ผู้ช่วยเหลือสังคม 1300
 
4. เก็บรวบรวมหลักฐาน
เช่น เสื้อผ้าที่ใส่ ภาพถ่ายร่องรอยการถูกกระทำ ห้ามชำระร่างกายก่อนตรวจรักษา
 
5. เข้ารับการตรวจรักษา เพื่อตรวจร่างกาย
รับการดูแลเบื้องต้น การป้องกันการตั้งครรภ์ การตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
 
6. ดำเนินการตามกระบวนการทางกฎหมาย
ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการทางกฎหมาย
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอร่วมสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรง ไม่ว่าจะเพศใดก็ตาม 
ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ
อินโฟกราฟิกส์
Modal Title

ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ

การถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ อาจไม่ใช่เรื่องไกลตัวในยุคสังคมปัจจุบัน แต่ก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นไม่ว่าจะกับใครหรือเพศไหนก็ตาม เพราะฉะนั้นเราทุกคนควรรู้ไว้เมื่อถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ ควรทำอย่างไรดี
1. ตั้งสติ หลบหนีไปบริเวณที่มีทางออก
ไม่ควรเข้าไปอยู่ในตู้เสื้อผ้า ห้องน้ำ ห้องเก็บของ ห้องครัว โรงรถ
 
2. การขอความช่วยเหลือ
เพื่อนบ้าน ผู้นำชุมชน รปภ.หมู่บ้าน สถานีตำรวจ รพ.สต./โรงพยาบาล
 
3. โทรหา
สายด่วน191 หรือสายด่วนศูนย์ผู้ช่วยเหลือสังคม 1300
 
4. เก็บรวบรวมหลักฐาน
เช่น เสื้อผ้าที่ใส่ ภาพถ่ายร่องรอยการถูกกระทำ ห้ามชำระร่างกายก่อนตรวจรักษา
 
5. เข้ารับการตรวจรักษา เพื่อตรวจร่างกาย
รับการดูแลเบื้องต้น การป้องกันการตั้งครรภ์ การตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
 
6. ดำเนินการตามกระบวนการทางกฎหมาย
ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการทางกฎหมาย
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ ขอร่วมสนับสนุนรณรงค์ยุติความรุนแรง ไม่ว่าจะเพศใดก็ตาม 
ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อถูกกระทำความรุนแรงทางเพศ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้ในส่วนการตลาด

    คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

บันทึกการตั้งค่า